- ฟิล์มใสหรือฟิล์มบางเกินไป
(Over Exposure)
- ฟิล์มทึบหรือฟิล์มหนาเกินไป
(Under Exposure)
- รายละเอียดของฟิล์มไม่ดีหรือเกรนฟิล์มหยาบทำให้ความคมชัดของภาพลดลง
- น้ำหนักสีของฟิล์มมีความแตกต่างกันมาก
หรือฟิล์มมีความตัดกันของสีขาวกับดำสูง
- ฟิล์มเกิดรอยขีดข่วนภายหลังจากขบวนการล้างฟิล์ม
- เกิดรอยคราบสกปรกที่ผิวฟิล์มเช่น
รอยนิ้วมือ
- ฟิล์มมีคราบของน้ำยาติดอยู่หลังจากการทำแห้งแล้ว
|
- เกิดจากการโหลดฟิล์มติด
ฟิล์มไปติดกันในขณะที่นำฟิล์มเข้าล้อม้วนฟิล์ม
- เกิดจากการสร้างภาพไม่ครบเวลาหรืออุณหภูมิของน้ำยาต่ำเกินไปหรืออาจเกิดจากน้ำยาอ่อนเกินไป
- เกิดจากการสร้างภาพเกินเวลาที่กำหนดหรืออาจเกิดจากการใช้อุณหภูมิของน้ำยาสูงเกินไปหรือน้ำยาเข้มข้นเกินไป
- เกิดจากการใช้น้ำไม่สะอาดในการปฏิบัติงาน
- เกิดจากผู้ปฏิบัติงานล้างฟิล์มในอุณหภูมิที่สูงเกินไปหรืออาจใช้ฟิล์มที่มีความไวแสงสูง
- เกิดจากการใช้น้ำยาที่มีปฏิกิริยาการสร้างภาพเร็วเกินไป
- ฟิล์มอาจไปสัมผัสกับล้อม้วนฟิล์มในขณะปฏิบัติงานหรือมีฝุ่นละอองที่มีขนาดใหญ่หรือชะน้ำแรงเกินไป
- เกิดจากการสัมผัสหรือเก็บฟิล์มไว้ไม่ดี
- เกิดจากการชะล้างน้ำไม่ดีพอ
เนื่องจากคราบของน้ำยาคงสภาพยังหลงเหลืออยู่
|
ไม่สามารถแก้ไขได้
ควรฝึกฝนในการนำฟิล์มเข้าล้อม้วนฟิล์มให้เกิดทักษะปฏิบัติที่ถูกต้อง
สามารถใช้น้ำยาเพิ่มความดำของเนกาทิฟได้แต่คุณภาพอาจไม่ดี
- สามารถใช้น้ำยาลดความดำของเนกาทิฟได้แต่คุณภาพอาจไม่ดีนัก
- ใช้น้ำที่สะอาดในการปฏิบัติงานหรือใช้น้ำยาเคลือบผิวฟิล์มแช่
1-2 นาทีแล้วนำไปทำแห้งใหม่อีกครั้งหนึ่ง
- ควบคุมอุณหภูมิของน้ำยาสร้างภาพให้ได้
20 C
และใช้ฟิล์มที่มีความไวแสงที่เหมาะสมกับลักษณะงาน
- ใช้น้ำยาที่มีปฏิกิริยาการสร้างภาพที่เหมาะสม
อุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติ
งานและการใช้น้ำชะล้างฟิล์มควรให้น้ำไหลที่ไม่แรง
- แช่ในน้ำอุ่น
1-2
นาทีแล้วนำมาแช่ในน้ำยาโฟโต้โฟล
1 นาทีแล้วนำมาทำฟิล์มให้แห้ง
- นำฟิล์มไปชะน้ำใหม่อีกครั้งหนึ่งแล้วนำฟิล์มไปทำแห้งตามขบวนการ
|